วันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2557

สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 7 ( 29 กันยายน 2557 )

แปลสรุปข่าวตอนเช้า วันละ3คน
นัดแนะการสอบกลางภาค 13 ตุลาคม2557
Art word A2 ใช้ฟอนต์ ตราสัญลักษณ์ ให้ถูกต้อง
และ สอบ Sketc Up
สอนการใช้ D3 Rrcvilve Options การทำรูปทรง

วันพฤหัสบดีที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2557

สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 6 ( 22 กันยายน 2557 )

บอกรายละเอียดการส่งงาน วันที่ 13 ตุลาคม 2557
ส่งงานเก่า และ สอบ ออนไลน์
แนะนำ
การสังเกตุในเว็ป
ส่วนประกอบบรรจุภัณฑ์
ฉลากบนบรรจุภัณฑ์
หลักการ ( พร้อมอ้างอิง )
การทำ Barcode (EAN)

วันอาทิตย์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2557

สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 5 ( 15 กันยายน 2557 )

ฟังเพื่อนแปลสรุปข่าว
การศึกษา ทดลองดูวิธีการศึกษาแล้วก็บันทึกไว้ 
- โลโก้จะเป็นตัวหนังสือ

ปัญหา S W O T
จุดแข็ง-อยู่ในพื้นที่นั้น
จุดออ่อน-มีตามฤดูกาล เรื่องโครงสร้าง ไม่มีทางเลือกอื่น
โอกาส-สามารถส่งออกได้ 
อุปสรรค์-มีขายที่เดียว ต้องพัฒนาการออกแบบ และอยู่ในประเทศเดียวเข้าไปสร้างโฟรเดอร์ (art work ) อ่านดูว่าสร้างยังไไงบ้าง 
ลิงค์แนะนำไปใช้ในการทำงาน และต้องอ้างอิ้ง และขอบคุณ

การบ้าน
ทำงานรายบุคคล มานำเสนอ Art Work ปริ้นตัวอย่าง A4 มาให้ดู เหลืออีก 2 สัปดาห์จัดวางนำเสนอ มูดบอด ขนาด 50x70 หรือ A2 ขนาด 30x20 แนวนอน มีขาตั้ง ( สัปดาห์ที่ 8 )

วันศุกร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2557

งานกลุ่ม


กลุ่มทำสมุนไพรและศิลปประดิษฐ์

58 ม.4 ตำบลมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท 17120 
ติดต่อ : นางสินมงคล อินธนู
โทร : 087-2071795, 087-2069244

เกี่ยวกับผู้เขียน



นางสาวศันสนีย์ สุพิทักษ์
เอกศิลปกรรมออกแบบนิเทศศิลป์
คณะ มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กทม. 10900
mail : sunsanee1993@gmail.com
Line : sun-sa-nee
Tel.+6647444812

ส.1สืบค้น (Research)

กลุ่มทำสมุนไพรบ้านคลองมอญ

ข้อมูลเบื้องต้นของผลิตภัณฑ์
ชื่อผลิตภัณฑ์ : สมุนไพรปรับกลิ่นอากาศ




รายละเอียด
ชื่อสินค้า - สมุนไพรปรับอากาศ
ประเภทสินค้า - ดูดกลิ่น
สี - เขียว
วิธีใช้ - สมุนไพรปรับกลิ่นอากาศ
ราคา - 45.-
ผลิตและจำหน่ายโดย - 58 ม.4 ตำบลมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท 17120 
ติดต่อ : คุณน้อย นางสินมงคล อินธนู 
โทร : 085-475567, 087-2071795



1.ชื่อสิ้นค้า
2.ส่วนประกอบ
3. การใช้งาน
4.ผลิตและจำหน่ายที่อยู่
5.โทรศัพท์
6. มผช.

ข้อมูลจากโครงสร้างบรรจุภัณฑ์
สีของบรรจุภัณฑ์ : บรรจุภัณฑ์ห่อด้วยกระดาษษาสีสันสดใส
วิธีการการบรรจุสินค้า : บรรจุใส่ถุง
การขึ้นรูปทรง:มีลักษณะโปร่งใสเห็นตัวบรรจุภัณฑ์
ระบบการพิมพ์ที่ใช้ : ปริ้นบนกระดาษสีขาว
และแปะลงบนบรรจุภัณฑ์
ด้านหลังบรรจุภัณฑ์ : มีบอกสรรพคุณ ลักษณะพิมพ์ใส่่กระดาษปริ้นออกมาแปะขนาด
กระดาษ กว้าง 5 เซนติเมตร สูง 7.5 เซนติเมตร



ความสูงของสมุนไพรปรับกลิ่นอากาศ
1.สูง          กว้าง 9    เซนติเมตร    ความสูง 11 เซนติเมตร
2.ด้านบน  กว้าง 5.5 เซนติเมตร    ความสูง   5 เซนติเมตร
3.ด้านล่าง กว้าง 9    เซนติเมตร    ความสูง7.5 เซนติเมตร
4.สาย        กว้าง 1    เซนติเมตร    ความสูง 36 เซนติเมตร
5.เส้นรอบวง        9    เซนติเมตร



สติกเกอร์แผ่นสีขาวหน้าถุง
1.ชื่อสิ้นค้า
2.ส่วนประกอบ
3. การใช้งาน
4.ผลิตและจำหน่ายที่อยู่
5.โทรศัพท์
6. มผช.
ที่ปิดปากถุง
7.ชื่อสิ้นค้า
8. การใช้งาน
9.ผลิตและจำหน่ายที่อยู่
10.โทรศัพท์
11.บาร์โค๊ด
12.สติกเกอร์แผ่นสีขาวหน้าถุง
13.ที่ปิดปากถุง
14.ถุง
15.สินค้า

        มะกรูด การบูร ถ่าน
คุณประโยชน์ของมะกรูดน้ำมันหอมระเหยจากมะกรูดมี
สรรพคุณช่วยผ่อนคลายความเครียด คลายความกังวล ทำให้จิตใจสงบนิ่ง ด้วยการสูดดมผิวมะกรูด
หรือน้ำมันมะกรูดจะช่วยได้ระดับหนึ่ง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus hystrix DC.
ชื่อสามัญ : Leech lime, Mauritus papeda
วงศ์ : Rutaceae
ชื่ออื่น : มะขุน มะขูด (ภาคเหนือ) มะขู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ส้มกรูด ส้มมั่วผี (ภาคใต้)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีน้ำตาล มีหนามแหลมตามกิ่งก้าน ใบ เป็นใบประกอบที่มีใบย่อยใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม มีต่อมน้ำมันอยู่ตามผิวใบ มีกลิ่นหอมเฉพาะ ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 แฉก โคนกลีบดอกติดกัน ผล เป็นรูปทรงกลมหรือรูปไข่ โคนผลเรียวเป็นจุก ผิวขรุขระ มีต่อมน้ำมัน ผลอ่อนสีเขียวแก่ สุกเป็นสีเหลือง มีรสเปรี้ยว เมล็ดกลมรี สีขาว มีหลายเมล็ด
ส่วนที่ใช้ : ราก ใบ ผล ผิวจากผล
สรรพคุณ
ราก - กระทุ้งพิษ แก้ฝีภายในและแก้เสมหะเป็นพิษ
ใบ - มีน้ำมันหอมระเหย
ผล, น้ำคั้นจากผล - ใช้แต่งกลิ่น สระผมรักษาชันนะตุ รังแค ทำให้ผมสะอาด
ผิวจากผล
- ปรุงเป็นยาขับลมในลำไส้ แก้แน่น
- เป็นยาบำรุงหัวใจ
การบูร
การบูร ชื่อสามัญ Camphor, Gum Camphor, Formosan Camphor, Laurel Camphor
การบูร ชื่อวิทยาศาสตร์ Cinnamomum camphora (L.) Presl.[1],[5],[6], Cinnamomum camphora Th. Fries[3],[4], Cinnamomum camphora Nees et Eberm.[4],[6]
(ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Camphora officinarum Nees, Laurus camphora L.) จัดอยู่ในวงศ์ LAURACEAE[1],[4]
การบูร คือผลึกที่แทรกอยู่ในเนื้อไม้ของต้นการบูร ที่มีอยู่ทั่วไปทั้งต้น โดยมักจะอยู่ตามรอยแตกของเนื้อไม้ และมีมากที่สุดในแก่นของราก รองลงมาคือส่วนแก่นของต้น ซึ่งส่วนที่อยู่ใกล้กับโคนต้นจะมีการบูรมากกว่าส่วนที่อยู่เหนือขึ้นมา ส่วนในใบและยอดอ่อนมีการบูรอยู่น้อย โดยในใบอ่อนจะมีน้อยกว่าใบแก่ ซึ่งผงการบูรนั้นจะมีลักษณะเป็นเกล็ดกลมๆ ขนาดเล็ก เป็นสีขาวและแห้ง อาจจับกันเป็นก้อนร่วนๆ และแตกง่าย เมื่อทิ้งไว้ในอากาศจะระเหิดไปหมด โดยจะมีรสปร่าเมา

ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของการบูร เนื้อไม้ของต้นการบูรเมื่อนำมากลั่นด้วยไอน้ำ จะได้การบูรและน้ำมันหอมระเหย รวมกันประมาณ 1% ซึ่งประกอบด้วย acetaldehyde, betelphenol, caryophyllen, cineole, eugenol, limonene, linalool, orthodene, p-cymol, และ salvene รากของต้นการบูรมีน้ำมันหอมระเหย 3% ซึ่งประกอบไปด้วย azulene, cadinene, camphene, camphor, carvacrol, cineol, citronellol, citronellic acid, fenochen, limonene, phellandene, pinene, piperiton, piperonylic acid, safrole, และ terpineol ส่วนใบของต้นการบูรพบ camphor และ camperol ราก กิ่ง และใบ พบน้ำมันระเหยโดยเฉลี่ยประมาณ 3-6% โดยในน้ำมันระเหยจะมีสารการบูรอยู่ประมาณ 10-50% และพบว่าต้นการบูรยิ่งมีอายุมากเท่าไหร่ จะพบว่ามีสารการบูรมากตามไปด้วย โดยพบสาร Azulene, Bisabolone, Cadinene, Camphorene, Carvacrol, Safrol เป็นต้น การบูรมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา ฆ่าแมลง สร้างภูมิคุ้มกัน และลดระดับคอเลสเตอรอล เมื่อนำเกล็ดการบูรมาทาผิวหน้าจะทำให้รู้สึกแสบร้อน และหากนำมาผสมกับเกล็ดสะระแหน่จะช่วยเพิ่มความรู้เย็น เกล็ดการบูรมีประสิทธิภาพในการช่วยกระตุ้นประสาทส่วนกลาง และกระตุ้นการทำงานของหัวใจ ทำให้หัวใจเกิดการบีบตัวและเต้นเร็วมากขึ้น ส่งผลทำให้การหายใจถี่ขึ้น 
ประโยชน์ของการบูร 
น้ำมันการบูรจะช่วยกระตุ้นความรู้สึกและทำให้จิตใจโล่งและปลอดโปร่ง ช่วยบรรเทาอาการปวดศีรษะและทำให้ตื่นตัว ช่วยบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะ เมารถ เมาเรือ ใช้เป็นยาชาเฉพาะที่ ช่วยแก้รอยผิวหนังแตกในช่วงฤดูหนาว กิ่งก้านและใบ สามารถนำมาใช้แต่งกลิ่นอาหารและขนมได้ เช่น ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเนื้อสัตว์ ไส้กรอก เบคอน ข้าวหมกไก่ ลูกกวาด แยม เยลลี่ เครื่องดื่มโคคาโคลา เหล้า หรือใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องพะโล้ เครื่องแกงมัสมั่น ผงกะหรี่ คุกกี้ ขนมเค้ก ฯลฯ ใช้แต่งกลิ่นยา และใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารประเภทผักดอง ซอส เป็นต้น การบูรเมื่อนำมาวางในห้องหรือตู้เสื้อผ้าจะสามารถช่วยไล่ยุงและแมลง และยังนำมาผสมเป็นตัวดับกลิ่นอับในรองเท้าได้อีกด้วย ใช้เป็นส่วนผสมในตำรับยาหอมต่างๆ เช่น ยาหอมเทพจิตร ยาหอมทิพโอสถ ยาประสะไพล ยาธาตุบรรจบ ยาประสะกานพลู ยามันทธาตุ ยาไฟประลัยกัลป์ ยาประสะเจตพังคี ยาธรณีสัณฑะฆาต ยาธาตุอบเชย หรือนำมาใช้ทำน้ำมันไพล ลูกประคบ พิมเสนน้ำ 
ข้อควรระวังในการใช้การบูร 
สตรีมีครรภ์ห้ามรับประทานและผู้ที่มีปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะขัด เป็นโรคริดสีดวงทวาร อุจจาระแข็งแห้งไม่ควรรับประทาน ห้ามใช้น้ำมันการบูรที่มีสีเหลืองและสีน้ำตาล เพราะมีความเป็นพิษ[8] เมื่อรับประทานการบูร 0.5-1 กรัม จะมีผลทำให้เกิดอาการเวียนศีรษะ และภายในมีอาการแสบร้อนและอาจเกิดอาการเพ้อได้ ถ้ารับประทานการบูร 2 กรัมขึ้นไป จะเกิดอันตรายทำให้อัตราการเต้นของหัวใจอ่อนลง หากรับประทานการบูร 7 กรัมขึ้นไป จะเป็นอันตรายถึงชีวิต

ข้อควรระวังในการใช้การบูร 
สตรีมีครรภ์ห้ามรับประทาน และผู้ที่มีปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะขัด เป็นโรคริดสีดวงทวาร อุจจาระแข็งแห้งไม่ควรรับประทาน
ห้ามใช้น้ำมันการบูรที่มีสีเหลืองและสีน้ำตาล เพราะมีความเป็นพิษ
เมื่อรับประทานการบูร 0.5-1 กรัม จะมีผลทำให้เกิดอาการเวียนศีรษะ และภายในมีอาการแสบร้อนและอาจเกิดอาการเพ้อได้ ถ้ารับประทานการบูร 2 กรัมขึ้นไป จะเกิดอันตรายทำให้อัตรา
การเต้นของหัวใจอ่อนลง 
หากรับประทานการบูร 7 กรัมขึ้นไป จะเป็นอันตรายถึงชีวิต
ที่มา © Copyright 2014 Frynn All Right Reserved. | อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://frynn.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A3/
ถ่าน
เนื่องจากแกลบที่อัดแล้วไม่สามารถรักษาสภาพให้เป็นแท่งอยู่ได้ เมื่อถูกน้ำ หรือน้ำฝนจะแปรสภาพเป็นแกลบบดเช่นเดิม แต่เมื่อนำแกลบที่อัดแล้วไปเผาให้เป็นถ่าน จะสามารถคงสภาพตามรูปที่อัดได้

- ดังนั้นทางผู้ผลิตของเราจึงต้องอัดแกลบเสร็จแล้วจึงค่อยนำไปเผาเป็นถ่านอัดแท่ง ซึ่งความแข็งแรง ความทนทาน เมื่อเทียบกับถ่านจากกะลามะพร้าวและ ถ่านจากขี้เลื่อยแล้ว ความหนาแน่นของถ่านใกล้เคียงกัน
จากการทดลองและพัฒนาพบว่า คุณสมบัติใกล้เคียงกับถ่านที่อัดด้วยวัสดุชนิดอื่น ซึ่งความทนทานของการเผาใหม้ขึ้นอยู่กับการอัดของเรา ซึ่งเราทดสอบแล้วถ่านของเราใช้ได้นานกว่าถ่านธรรมดา
ประมาณ 2 - 2.5 เท่า

การนำเสนอ ส.1สืบค้น (Research)



การนำเสนอ ส.1สืบค้น (Research)







สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 4 ( 8 กันยายน 2557 )

สรุปข่าวหน้าขั้นเรียนและจดบันทึกความสำคัญ
อาจารย์มีตัวอย่างการศึกษาวิเคราะห์และการสืบค้นข้อมูลเบื้องต้น ส.1 การทำ Visual Analysis การวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง Swot Analysis เพื่อหาข้อสรุปที่ได้จากการใช้แบบสำรวจ 
สรุป-บันทึก-ผลการสัมภาษณ์และการศึกษาข้อมูลเชิงลึก(Indept Interview) 
ในพื้นที่แบบมีส่วนร่วมกับชุมชน/ผู้ประกอบการจริง 
ลองอ่านและสรุปทำตามที่สามารถเก็บข้อมูลได้ 
ทำตามหลักการที่สอนอย่างผู้มีการศึกษามีหลักการคิดวิเคราะห์ 
ดูเพิ่มเติมที่