กลุ่มทำสมุนไพรบ้านคลองมอญ
ชื่อผลิตภัณฑ์ : สมุนไพรปรับกลิ่นอากาศ
รายละเอียด
ชื่อสินค้า - สมุนไพรปรับอากาศ
ประเภทสินค้า - ดูดกลิ่น
สี - เขียว
วิธีใช้ - สมุนไพรปรับกลิ่นอากาศ
ราคา - 45.-
ผลิตและจำหน่ายโดย - 58 ม.4 ตำบลมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท 17120
ติดต่อ : คุณน้อย นางสินมงคล อินธนู
โทร : 085-475567, 087-2071795
1.ชื่อสิ้นค้า
2.ส่วนประกอบ
3. การใช้งาน
4.ผลิตและจำหน่ายที่อยู่
5.โทรศัพท์
6. มผช.
ข้อมูลจากโครงสร้างบรรจุภัณฑ์
สีของบรรจุภัณฑ์ : บรรจุภัณฑ์ห่อด้วยกระดาษษาสีสันสดใส
วิธีการการบรรจุสินค้า : บรรจุใส่ถุง
การขึ้นรูปทรง:มีลักษณะโปร่งใสเห็นตัวบรรจุภัณฑ์
ระบบการพิมพ์ที่ใช้ : ปริ้นบนกระดาษสีขาว
และแปะลงบนบรรจุภัณฑ์
ด้านหลังบรรจุภัณฑ์ : มีบอกสรรพคุณ ลักษณะพิมพ์ใส่่กระดาษปริ้นออกมาแปะขนาด
กระดาษ กว้าง 5 เซนติเมตร สูง 7.5 เซนติเมตร
ความสูงของสมุนไพรปรับกลิ่นอากาศ
1.สูง กว้าง 9 เซนติเมตร ความสูง 11 เซนติเมตร
2.ด้านบน กว้าง 5.5 เซนติเมตร ความสูง 5 เซนติเมตร
3.ด้านล่าง กว้าง 9 เซนติเมตร ความสูง7.5 เซนติเมตร
4.สาย กว้าง 1 เซนติเมตร ความสูง 36 เซนติเมตร
5.เส้นรอบวง 9 เซนติเมตร
สติกเกอร์แผ่นสีขาวหน้าถุง
1.ชื่อสิ้นค้า
2.ส่วนประกอบ
3. การใช้งาน
4.ผลิตและจำหน่ายที่อยู่
5.โทรศัพท์
6. มผช.
ที่ปิดปากถุง
7.ชื่อสิ้นค้า
8. การใช้งาน
9.ผลิตและจำหน่ายที่อยู่
10.โทรศัพท์
11.บาร์โค๊ด
12.สติกเกอร์แผ่นสีขาวหน้าถุง
13.ที่ปิดปากถุง
14.ถุง
15.สินค้า
มะกรูด การบูร ถ่าน
คุณประโยชน์ของมะกรูดน้ำมันหอมระเหยจากมะกรูดมีสรรพคุณช่วยผ่อนคลายความเครียด คลายความกังวล ทำให้จิตใจสงบนิ่ง ด้วยการสูดดมผิวมะกรูด
หรือน้ำมันมะกรูดจะช่วยได้ระดับหนึ่ง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus hystrix DC.
ชื่อสามัญ : Leech lime, Mauritus papeda
วงศ์ : Rutaceae
ชื่ออื่น : มะขุน มะขูด (ภาคเหนือ) มะขู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ส้มกรูด ส้มมั่วผี (ภาคใต้)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีน้ำตาล มีหนามแหลมตามกิ่งก้าน ใบ เป็นใบประกอบที่มีใบย่อยใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม มีต่อมน้ำมันอยู่ตามผิวใบ มีกลิ่นหอมเฉพาะ ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 แฉก โคนกลีบดอกติดกัน ผล เป็นรูปทรงกลมหรือรูปไข่ โคนผลเรียวเป็นจุก ผิวขรุขระ มีต่อมน้ำมัน ผลอ่อนสีเขียวแก่ สุกเป็นสีเหลือง มีรสเปรี้ยว เมล็ดกลมรี สีขาว มีหลายเมล็ด
ส่วนที่ใช้ : ราก ใบ ผล ผิวจากผล
ราก - กระทุ้งพิษ แก้ฝีภายในและแก้เสมหะเป็นพิษ
ใบ - มีน้ำมันหอมระเหย
ผล, น้ำคั้นจากผล - ใช้แต่งกลิ่น สระผมรักษาชันนะตุ รังแค ทำให้ผมสะอาด
ผิวจากผล
- ปรุงเป็นยาขับลมในลำไส้ แก้แน่น
- เป็นยาบำรุงหัวใจ
การบูร
การบูร ชื่อสามัญ Camphor, Gum Camphor, Formosan Camphor, Laurel Camphor
การบูร ชื่อวิทยาศาสตร์ Cinnamomum camphora (L.) Presl.[1],[5],[6], Cinnamomum camphora Th. Fries[3],[4], Cinnamomum camphora Nees et Eberm.[4],[6] (ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Camphora officinarum Nees, Laurus camphora L.) จัดอยู่ในวงศ์ LAURACEAE[1],[4]
การบูร คือผลึกที่แทรกอยู่ในเนื้อไม้ของต้นการบูร ที่มีอยู่ทั่วไปทั้งต้น โดยมักจะอยู่ตามรอยแตกของเนื้อไม้ และมีมากที่สุดในแก่นของราก รองลงมาคือส่วนแก่นของต้น ซึ่งส่วนที่อยู่ใกล้กับโคนต้นจะมีการบูรมากกว่าส่วนที่อยู่เหนือขึ้นมา ส่วนในใบและยอดอ่อนมีการบูรอยู่น้อย โดยในใบอ่อนจะมีน้อยกว่าใบแก่ ซึ่งผงการบูรนั้นจะมีลักษณะเป็นเกล็ดกลมๆ ขนาดเล็ก เป็นสีขาวและแห้ง อาจจับกันเป็นก้อนร่วนๆ และแตกง่าย เมื่อทิ้งไว้ในอากาศจะระเหิดไปหมด โดยจะมีรสปร่าเมา
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของการบูร เนื้อไม้ของต้นการบูรเมื่อนำมากลั่นด้วยไอน้ำ จะได้การบูรและน้ำมันหอมระเหย รวมกันประมาณ 1% ซึ่งประกอบด้วย acetaldehyde, betelphenol, caryophyllen, cineole, eugenol, limonene, linalool, orthodene, p-cymol, และ salvene รากของต้นการบูรมีน้ำมันหอมระเหย 3% ซึ่งประกอบไปด้วย azulene, cadinene, camphene, camphor, carvacrol, cineol, citronellol, citronellic acid, fenochen, limonene, phellandene, pinene, piperiton, piperonylic acid, safrole, และ terpineol ส่วนใบของต้นการบูรพบ camphor และ camperol ราก กิ่ง และใบ พบน้ำมันระเหยโดยเฉลี่ยประมาณ 3-6% โดยในน้ำมันระเหยจะมีสารการบูรอยู่ประมาณ 10-50% และพบว่าต้นการบูรยิ่งมีอายุมากเท่าไหร่ จะพบว่ามีสารการบูรมากตามไปด้วย โดยพบสาร Azulene, Bisabolone, Cadinene, Camphorene, Carvacrol, Safrol เป็นต้น การบูรมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา ฆ่าแมลง สร้างภูมิคุ้มกัน และลดระดับคอเลสเตอรอล เมื่อนำเกล็ดการบูรมาทาผิวหน้าจะทำให้รู้สึกแสบร้อน และหากนำมาผสมกับเกล็ดสะระแหน่จะช่วยเพิ่มความรู้เย็น เกล็ดการบูรมีประสิทธิภาพในการช่วยกระตุ้นประสาทส่วนกลาง และกระตุ้นการทำงานของหัวใจ ทำให้หัวใจเกิดการบีบตัวและเต้นเร็วมากขึ้น ส่งผลทำให้การหายใจถี่ขึ้น
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของการบูร เนื้อไม้ของต้นการบูรเมื่อนำมากลั่นด้วยไอน้ำ จะได้การบูรและน้ำมันหอมระเหย รวมกันประมาณ 1% ซึ่งประกอบด้วย acetaldehyde, betelphenol, caryophyllen, cineole, eugenol, limonene, linalool, orthodene, p-cymol, และ salvene รากของต้นการบูรมีน้ำมันหอมระเหย 3% ซึ่งประกอบไปด้วย azulene, cadinene, camphene, camphor, carvacrol, cineol, citronellol, citronellic acid, fenochen, limonene, phellandene, pinene, piperiton, piperonylic acid, safrole, และ terpineol ส่วนใบของต้นการบูรพบ camphor และ camperol ราก กิ่ง และใบ พบน้ำมันระเหยโดยเฉลี่ยประมาณ 3-6% โดยในน้ำมันระเหยจะมีสารการบูรอยู่ประมาณ 10-50% และพบว่าต้นการบูรยิ่งมีอายุมากเท่าไหร่ จะพบว่ามีสารการบูรมากตามไปด้วย โดยพบสาร Azulene, Bisabolone, Cadinene, Camphorene, Carvacrol, Safrol เป็นต้น การบูรมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา ฆ่าแมลง สร้างภูมิคุ้มกัน และลดระดับคอเลสเตอรอล เมื่อนำเกล็ดการบูรมาทาผิวหน้าจะทำให้รู้สึกแสบร้อน และหากนำมาผสมกับเกล็ดสะระแหน่จะช่วยเพิ่มความรู้เย็น เกล็ดการบูรมีประสิทธิภาพในการช่วยกระตุ้นประสาทส่วนกลาง และกระตุ้นการทำงานของหัวใจ ทำให้หัวใจเกิดการบีบตัวและเต้นเร็วมากขึ้น ส่งผลทำให้การหายใจถี่ขึ้น
ประโยชน์ของการบูร
น้ำมันการบูรจะช่วยกระตุ้นความรู้สึกและทำให้จิตใจโล่งและปลอดโปร่ง ช่วยบรรเทาอาการปวดศีรษะและทำให้ตื่นตัว ช่วยบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะ เมารถ เมาเรือ ใช้เป็นยาชาเฉพาะที่ ช่วยแก้รอยผิวหนังแตกในช่วงฤดูหนาว กิ่งก้านและใบ สามารถนำมาใช้แต่งกลิ่นอาหารและขนมได้ เช่น ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเนื้อสัตว์ ไส้กรอก เบคอน ข้าวหมกไก่ ลูกกวาด แยม เยลลี่ เครื่องดื่มโคคาโคลา เหล้า หรือใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องพะโล้ เครื่องแกงมัสมั่น ผงกะหรี่ คุกกี้ ขนมเค้ก ฯลฯ ใช้แต่งกลิ่นยา และใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารประเภทผักดอง ซอส เป็นต้น การบูรเมื่อนำมาวางในห้องหรือตู้เสื้อผ้าจะสามารถช่วยไล่ยุงและแมลง และยังนำมาผสมเป็นตัวดับกลิ่นอับในรองเท้าได้อีกด้วย ใช้เป็นส่วนผสมในตำรับยาหอมต่างๆ เช่น ยาหอมเทพจิตร ยาหอมทิพโอสถ ยาประสะไพล ยาธาตุบรรจบ ยาประสะกานพลู ยามันทธาตุ ยาไฟประลัยกัลป์ ยาประสะเจตพังคี ยาธรณีสัณฑะฆาต ยาธาตุอบเชย หรือนำมาใช้ทำน้ำมันไพล ลูกประคบ พิมเสนน้ำ
ข้อควรระวังในการใช้การบูร
สตรีมีครรภ์ห้ามรับประทานและผู้ที่มีปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะขัด เป็นโรคริดสีดวงทวาร อุจจาระแข็งแห้งไม่ควรรับประทาน ห้ามใช้น้ำมันการบูรที่มีสีเหลืองและสีน้ำตาล เพราะมีความเป็นพิษ[8] เมื่อรับประทานการบูร 0.5-1 กรัม จะมีผลทำให้เกิดอาการเวียนศีรษะ และภายในมีอาการแสบร้อนและอาจเกิดอาการเพ้อได้ ถ้ารับประทานการบูร 2 กรัมขึ้นไป จะเกิดอันตรายทำให้อัตราการเต้นของหัวใจอ่อนลง หากรับประทานการบูร 7 กรัมขึ้นไป จะเป็นอันตรายถึงชีวิต
ข้อควรระวังในการใช้การบูร
สตรีมีครรภ์ห้ามรับประทาน และผู้ที่มีปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะขัด เป็นโรคริดสีดวงทวาร อุจจาระแข็งแห้งไม่ควรรับประทาน
ห้ามใช้น้ำมันการบูรที่มีสีเหลืองและสีน้ำตาล เพราะมีความเป็นพิษ
เมื่อรับประทานการบูร 0.5-1 กรัม จะมีผลทำให้เกิดอาการเวียนศีรษะ และภายในมีอาการแสบร้อนและอาจเกิดอาการเพ้อได้ ถ้ารับประทานการบูร 2 กรัมขึ้นไป จะเกิดอันตรายทำให้อัตรา
การเต้นของหัวใจอ่อนลง
หากรับประทานการบูร 7 กรัมขึ้นไป จะเป็นอันตรายถึงชีวิต
- ดังนั้นทางผู้ผลิตของเราจึงต้องอัดแกลบเสร็จแล้วจึงค่อยนำไปเผาเป็นถ่านอัดแท่ง ซึ่งความแข็งแรง ความทนทาน เมื่อเทียบกับถ่านจากกะลามะพร้าวและ ถ่านจากขี้เลื่อยแล้ว ความหนาแน่นของถ่านใกล้เคียงกัน
จากการทดลองและพัฒนาพบว่า คุณสมบัติใกล้เคียงกับถ่านที่อัดด้วยวัสดุชนิดอื่น ซึ่งความทนทานของการเผาใหม้ขึ้นอยู่กับการอัดของเรา ซึ่งเราทดสอบแล้วถ่านของเราใช้ได้นานกว่าถ่านธรรมดา
ที่มา © Copyright 2014 Frynn All Right Reserved. | อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://frynn.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A3/
เนื่องจากแกลบที่อัดแล้วไม่สามารถรักษาสภาพให้เป็นแท่งอยู่ได้ เมื่อถูกน้ำ หรือน้ำฝนจะแปรสภาพเป็นแกลบบดเช่นเดิม แต่เมื่อนำแกลบที่อัดแล้วไปเผาให้เป็นถ่าน จะสามารถคงสภาพตามรูปที่อัดได้
ถ่าน
- ดังนั้นทางผู้ผลิตของเราจึงต้องอัดแกลบเสร็จแล้วจึงค่อยนำไปเผาเป็นถ่านอัดแท่ง ซึ่งความแข็งแรง ความทนทาน เมื่อเทียบกับถ่านจากกะลามะพร้าวและ ถ่านจากขี้เลื่อยแล้ว ความหนาแน่นของถ่านใกล้เคียงกัน
จากการทดลองและพัฒนาพบว่า คุณสมบัติใกล้เคียงกับถ่านที่อัดด้วยวัสดุชนิดอื่น ซึ่งความทนทานของการเผาใหม้ขึ้นอยู่กับการอัดของเรา ซึ่งเราทดสอบแล้วถ่านของเราใช้ได้นานกว่าถ่านธรรมดา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น